บทที่ 7 ระบบแฟ้มข้อมูล

            ข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์


             คอมพิวเตอร์ทำงานด้วยหลักการทางอิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้สัญญาณทางไฟฟ้าแทนตัว เลขศูนย์และหนึ่ง ซึ่งเป็นตัวเลขในระบบเลขฐานแต่ละหลักเรียกว่าบิต (binary digit : bit)

และเมื่อนำตัวเลขหลายๆ บิตมาเรียงกัน จะใช้สร้างรหัสแทนจำนวนอักขระหรือสัญลักษณ์

ทั้งภาษาไทยแทนข้อมูลในระบบเลขฐานสองขึ้นโดยรหัสมาตรฐานที่นิยมใช้กันมากมีสองกลุ่ม

คือ รหัสแอสกีและรหัสเอ็บซิดิก


แฟ้มข้อมูล ( File )


              
      การเก็บข้อมูลที่ใช้กันในระบบปฏิบัติการทุกตัวคือจัดเก็บข้อมูลในรูปของแฟ้มข้อมูลซึ่งใน

แต่ละแฟ้มมักจะเก็บข้อมูลที่เป็นเรื่องเดียวกันเพื่อความสะดวกรวดเร็วในการอ้างถึง โดยระบบ

ปฏิบัติการจะมีส่วนที่อำนวยความสะดวกให้กับผู้ใช้ในการสร้างแฟ้ม

 

โครงสร้างแฟ้มข้อมูล


http://www.thaigoodview.com/library/teachershow/prajuab/tanyalak_k/photo/file.jpg


นิดของแฟ้มข้อมูล


          การสร้างแฟ้ม ( Create)เป็นการกระทำเมื่อต้องการสร้างแฟ้มข้อมูลซึ่งจะเริ่มต้นด้วยการสร้าง

แฟ้มว่างซึ่งยังไม่มีข้อมูลภายในแฟ้มเพื่อให้ระบบปฏิบัติการสามารถจัดการกับแฟ้มนั้นเพื่อเตรียม

การในการรับ ข้อมูลเข้ามาเก็บในแฟ้ม รวมถึงการจัดการเกี่ยวกับรายละเอียดต่างๆของแฟ้มนั้น

ด้วยการลบแฟ้ม ( Delete ) เป็นการกระทำกับแฟ้มเมื่อไม่ต้องการใช้งานแฟ้มนั้นแล้ว จะทำการลบ

แฟ้มนั้นออกไปจากดิสก์ซึ่งก็คือการยกเลิกการใช้งานข้อมูลภายในแฟ้มนั้น เพื่อเป็นการเพิ่มเนื้อ

ที่ว่างในการเก็บข้อมูลของสื่อบันทึกข้อมูลการเปิดแฟ้ม ( Open )ก่อนที่จะสามารถใช้งานข้อมูล

ในแฟ้มข้อมูลได้ แฟ้มนั้นต้องได้รับการอ้างอิง เพื่อให้ระบบปฏิบัติการอ่าน

รายละเอียดต่างๆของแฟ้มนั้นเข้ามาเก็บไว้ในหน่วยความจำเพื่อให้การอ้างอิงใช้งานทำได้อย่างรวด

เร็วโดยเฉพาะอย่างยิ่งในการอ้างอิงครั้งหลังๆ ซึ่งวิธีการนี้เรียกว่าการเปิดแฟ้มการปิดแฟ้ม ( Close ) เมื่อการใช้งานแฟ้มสิ้นสุดลงค่ารายละเอียดของแฟ้มนั้นก็ไม่จำเป็นต้องใช้งานอีกการปิดแฟ้มก็เพื่อเป็น

การยกเลิก การใช้งานเพื่อให้มีเนื้อที่ว่างสำหรับเก็บรายละเอียดของแฟ้มอื่นๆที่จะใช้งานต่อไปการ

อ่าน( Read ) เป็นการอ่านข้อมูลจากแฟ้มข้อมูลที่ได้เปิดไว้โดยจะอ่านจากสื่อบันทึกข้อมูลณ ตำแหน่ง

ที่ต้องการใช้งานมาเก็บไว้ที่หน่วยความจำเพื่อใช้งานการบันทึก ( Write) บันทึกข้อมูล ณ ตำแหน่ง

ปัจจุบัน หรือ ณตำแหน่งที่กำหนดบันทึกข้อมูล ณ ตำแหน่งปัจจุบัน หรือ ณ ตำแหน่งที่กำหนด หาก

ตำแหน่งนั้นเป็นตำแหน่งสุดท้ายของแฟ้มการเพิ่มข้อมูลต่อท้ายแฟ้ม( Append )เป็นการเพิ่มข้อมูล

ใหม่ต่อท้ายแฟ้ม ซึ่งคล้ายกับการบันทึกข้อมูลในกรณีที่บันทึกที่ท้ายแฟ้มข้อมูลขึ้นการค้นหา( Seek )

ใช้สำหรับการเข้าถึงแบบสุ่ม โดยมีการกำหนดตำแหน่งในแฟ้มเพื่อการอ่านหรือบันทึกข้อมูลแฟ้มเพื่อ

การอ่านหรือบันทึกข้อมูลการเปลี่ยนชื่อแฟ้ม ( Rename ) เป็นการเปลี่ยนชื่อของแฟ้มข้อมูล ซึ่งจะมีการ

ทำสำเนาแฟ้มเดิมไปบันทึกลงในแฟ้มใหม่ ภายใต้ชื่อแฟ้มใหม่และจะลบแฟ้มเดิมออกจากระบบทำให้

ได้แฟ้มที่มีชื่อใหม่ตามความต้องการ


 ชนิดของแฟ้มข้อมูล


                ระบบปฏิบัติการโดยทั่วไป จะสนับสนุนการทำงานกับแฟ้มได้หลายชนิด  เช่น แฟ้มข้อมูลทั่วไป

ไดเร็กทอรี่  แฟ้มของอักขระ หรือแฟ้มของกลุ่มข้อมูล เป็นต้น โดยมีละเอียดของแฟ้มแต่ชนิด


การกระทำกับแฟ้มข้อมูล


                 จากที่ได้กล่าวมาแล้วว่าแฟ้มเป็นที่เก็บของข้อมูลและสารสนเทศต่างๆของผู้ใช้ ในการ

ใช้งานซึ่งในการใช้งานแฟ้มหรือการกระทำกับแฟ้มนั้นมีหลายลักษณะโดยในระบบปฏิบัติการ

ที่จะตกต่างแต่โดยทั่วไปแล้วระบบปฏิบัติการมักจะเตรียมการกระทำต่างๆกับแฟ้ม ดังนี้


ไดเร็กทอรี่


             ไดเร็กทรี่   เป็นแฟ้มประเภทหนึ่งซึ่งทำหน้าที่เก็บรวบรวมรายชื่อของแฟ้ม และข้อมูลบาง

อย่างที่สำคัญของแฟ้มในระบบปฏิบัติทุกระบบจะต้องมีไดเร็กทอรี่


การจัดระบบแฟ้ม  (File System)


            การจัดการข้อมูลของผู้ใช้จะเกี่ยวข้องกับการจัดการเก็บ  การแบ่งข้อมูลลงแฟ้ม และการจัดการ

ไดเร็กทอรี่เพื่อให้สะดวกในการใช้งานแต่ที่จะกล่าวถึงต่อไปนี้จะเป็นการจัดการข้อมูล

 

การจัดระบบแฟ้มแบบเรด (RAID)

           ผู้ออกแบบฮาร์ดแวร์ ได้พยายามปรับปรุงการทำงานของดิสก์โดยการเพิ่มประสิทธิ

ภาพในการทำงานเพิ่มความเชื่อถือได้ของการจัดเก็็บแฟ้ม และเพิ่มความจุของดิสก์ซึ่งใน

การเพิ่มประสิทธิภาพของการงานนั้น หมายถึงการเพิ่มอัตราเร็วของการขนถ่ายข้อมูล

และความเร็วในการเข้าถึงข้อมูล

Free Web Hosting